Research

คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ สถาบันโรคทรวงอก

ปฏิทินการประชุมคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยฯ

โครงสร้างและที่อยู่สำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ สถาบันโรคทรวงอก

มาตรฐานการปฏิบัติงานจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2563 (SOPs)

แนวทางปฏิบัติงานจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ สถาบันโรคทรวงอก ปี 2563 (ประกาศใช้วันที่ 12 มิถุนายน 2563)

แบบฟอร์ม/เอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยในสถาบันโรคทรวงอก

สอบ GCP Training Online

- โปรแกรมอบรม GCP Online ของมหาวิทยาลัยมหิดล

- โปรแกรมอบรม GCP Online ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- NIDA Clinical trial network







เอกสารงานวิจัย

คณะกรรมการวิจัยและประเมินเทคโนโลยี

โครงสร้างกลุ่มงานวิจัยและประเมินเทคโนโลยี

ระเบียบการปฏิบัติงานด้านงานวิจัยและประเมินเทคโนโลยี

ข้อตกลงการเข้าดำเนินการวิจัย/เก็บข้อมูลในสถาบันฯ



ปี 2566

ผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยหลังผ่าตัดลิ้นหัวใจ : นางสาวทองดี จิตใส

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่แยกกักตัวที่บ้านและหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล : นางสาวบัวชมพู เอกมาตร

ผลการใช้แนวทางการประเมินสัญญาณเตือนก่อนเข้าสู่ภาวะวิกฤต (MEWS) ต่ออุบัติการณ์การย้ายเข้าหอผู้ป่วยวิกฤต หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตโดยไม่ได้วางแผนในผู้ป่วยที่ทำหัตถการถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจ (PCI) ในห้องตรวจสวนหัวใจ สถาบันโรคทรวงอก : นางสาวณัชภัคร ธนะภัสสร

การศึกษาประสิทธิผลและอัตราความสำเร็จของการสอดสายสวนเข้าหลอดเลือดแดงส่วนปลายด้านหลังของมือที่ตำแหน่งอนาโตมิคัลสนัฟฟ์บอกซ์ในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ในสถาบันโรคทรวงอก : พญ.กมลรัตน์ ทองปลั่ง

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลและอัตราความสำเร็จของการสอดสาย สวนเข้าหลอดเลือดแดงบริเวณข้อมือด้วยเทคนิคอัตราซาวด์กับการคลำชีพจร ในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ในสถาบันโรคทรวงอก : พญ.กมลรัตน์ ทองปลั่ง

ประสบการณ์ของผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการรักษาด้วยการให้ออกซิเจนอัตราการไหลสูงผ่านทางจมูกหลังถอดท่อช่วยหายใจ ในสถาบันโรคทรวงอก : นางยูงทอง นาทมนตรี

การศึกษาระดับยาต่ำสุดของยาเบด้าควิลิน ไลเนโซลิด และโครฟาซีมินที่ยับยั้งเชื้อวัณโรคของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ของสถาบันโรคทรวงอก : นางจิรกานต์ ปุญญโสพรรณ

ประสิทธิภาพของชุดน้ำยาทดสอบการติดเชื้อวัณโรค QIAreachTM เทียบกับ QuantiFERON-TB Gold Plus TM ในคนไทย : นางจิรกานต์ ปุญญโสพรรณ

ระดับของเอนไซม์อะดีโนซีนดีอะมิเนสที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุดในการคัดกรองวัณโรคเยื่อหุ้มปอด : นางสาวปุญญาภา ตันวราวุฒิกูล

การทบทวนการใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดกลุ่มใหม่ในคลินิกผู้ป่วยนอกที่สถาบันโรคทรวงอก : ภญ.ศุภธิดา กำเนิดศุภผล

การประเมินผลกระทบด้านงบประมาณจากการใช้ยาในกลุ่ม PCSK9 Inhibitors ในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ในสถาบันโรคทรวงอก : นายอุดม แท้วิริยะกุล

รายงานกรณีผู้หญิงน้ำหนักเกินที่มีอาการหัวใจเต้นช้าตอนกลางคืนอย่างมาก (An Overweight Woman with Profound Symptomatic Nocturnal Bradycardia: A Case Report) : นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล

แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ Cardiovascular implantable electronic devices (CIEDS) ที่เข้ามารับการผ่าตัด : นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล

การประเมินความต้องการข้อมูลต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจพิเศษหลอดเลือดหัวใจ ด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ : บุษบา อินกว่าง และ ปนัดดา รัตนานุรักษพงษ์

เครื่องช่วยพยุงการทำงานของหัวใจและปอดในภาวะ ARDS : นายณัฐ ตะพานวงศ์

ความสัมพันธ์ระหว่างผลของการทดสอบ 6-MWT กับคุณภาพชีวิตตามแบบประเมินคุณภาพชีวิต EQ- 5D-5L ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ Coronary Artery Bypass Grafting (CABG) : นายนันทพล ทวิขสังข์

ผลของการใช้หลักพุทธวิธีต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการส่องกล้องวินิจฉัยโรคปอดและหลอดลม : นางสาวจิตชนก บุญสำราญ

ปี 2565

สถานการณ์การดื้อยาต้านจุลชีพระหว่างการติดเชื้อในโรงพยาบาลและติดเชื้อในชุมชนสำหรับผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือด ปีพ.ศ.2560 – 2562 สถาบันโรคทรวงอก : นางอัชราภร เกษมสายสุวรรณ

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะความเข้มข้นของเลือดต่ำขณะเข้าเครื่องหัวใจและปอดเทียมในผู้ป่วยที่รับการผ่าตัดหัวใจ สถาบันโรคทรวงอก : นางสาวศรีรัตน์ เอกสุข

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะของผู้ป่วยโรคหัวใจในสถาบันโรคทรวงอก : นางภัทรชยา สวัสดิ์วงษ์

การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมติดตามการทำงานวิชาการของพยาบาลวิชาชีพโดยการสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยง : นางภัทรชยา สวัสดิ์วงษ์

การวิจัยประเมินผลโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สถาบันโรคทรวงอก : นายนรสิงห์ สวัสดิ์วงษ์

การศึกษาอาการนำทางคลินิกและผลการรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะพิษจากยา Digoxin : นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล

การศึกษาความรู้ของพยาบาล ในการใช้แบบประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มสถาบันโรคทรวงอก : นางสิรีรัศมิ์ ชาญธีระวัฒนา

คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคพังผืดปอด สถาบันโรคทรวงอก : นางนำชื่น อิ่มทรัพย์

ความต้องการข้อมูลการปฏิบัติตนหลังผ่าตัดหัวใจของผู้ป่วยสูงอายุในสถาบันโรคทรวงอก : นางศษิกร เกษมสายสุวรรณ

รายงานผู้ป่วย Core syndrome (Cough/Astma, Obesity/ OSA, Rhinosinusitis, Esophageal Reflux) : พญ.นฤมล ลือกิตตินันท์

โทรเวชกรรมการนอนหลับในยุคโควิด 19 : พญ.นฤมล ลือกิตตินันท์

Nocturnal arrhythmia during split-night positive airway pressure titration polysomnography in obstructive sleep apnea patients at Central Chest Institute of Thailand : พญ.กัลยา ปัญจพรผล


ปี 2564

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดการรั่วของเลือดออกจากกราฟท์เข้าสู่ หลอดเลือดแดงใหญ่ที่โป่งพอง และการเพิ่มขนาดของหลอดเลือดภายหลังการใส่หลอดเลือดเทียมชนิดขดลวดหุ้มกราฟท์ใน หลอดเลือดแดงใหญ่ของทรวงอก : พญ.วีรยา น้อยศิริ

การทดลองแบบสุ่มโดยใช้ NAT2 ยีนกำหนดขนาดยา Isoniazid ในการรักษาวัณโรคปอด เพื่อลดภาวะเป็นตับอักเสบอันเกิดจากยาต้านวัณโรคในผู้ป่วยไทย : พญ.ธัญนุช สัญชาติ

ประโยชน์ของการใช้ Quantiferon-TB Gold Plus ในการหาอุบัติการณ์การเกิดวัณโรคในบุคลากรสถาบันโรคทรวงอก : พญ.เปี่ยมลาภ แสงสายัณห์

ปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคเนื้อเยื่อปอดอักเสบในสถาบันโรคทรวงอก โดยใช้หลักเกณฑ์ของ ATS/ERS/JRS/ALAT HRCT Classification ปี 2018 : พญ.สตรีรัตน์ จั่นครุฑ

ผู้ชายที่มีหัวใจเต้นเร็วสม่ำเสมอชนิด QRS complex กว้าง ที่ไม่มีสาเหตุอธิบาย : นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล

การใช้ระดับคะแนน simplified HAS-BLED เพื่อทำนายการเกิดภาวะเลือดออกในผู้ป่วยโรคหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด : นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล

ผลการผ่าตัดรักษาผู้ป่วยโรคก้อนเชื้อราแอสเปอร์จิลลัสที่ปอดในสถาบันโรคทรวงอก: ติดตามระยะ 1 ปี : พญ.อ้อมใจ รัตนานนท์

อำนาจในการทำนายประสบการณ์การมีอาการและกลวิธีการจัดการกับอาการต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในสถาบันโรคทรวงอก : นางสาวบัวชมพู เอกมาตร

ประสิทธิผลของรูปแบบการสอนที่ใช้คิวอาร์โค้ดร่วมในผู้ป่วยก่อนผ่าตัดหัวใจ : นางสาวทองดี จิตใส

ผลของการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพต่อการกลับมามีสัญญาณชีพและอัตราการรอดชีวิตสถาบันโรคทรวงอก : นางสาวสุชีรา อึ้งตระกูล

ผลการใช้ค่าอัตราการกรองผ่านโกลเมอรูลัสเป็นตัวส่งสัญญาณในการเฝ้าระวังการเกิดพิษต่อไตจากยาฉีดแวนโคมัยซิน : นางสาวเอมอัจฉรา วรสาร

การวิเคราะห์สถานการณ์และกลยุทธ์การลดระยะเวลารอคอยในหน่วยงานผู้ป่วยฉุกเฉิน สถาบันโรคทรวงอก : นางสาวสายพิน กองแก้ว

ความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตและปัญหาสุขภาพจิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังในคลินิกผู้ป่วยนอกโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรังในคลินิกผู้ป่วยนอกโรคหัวใจ สถาบันโรคทรวงอก : นางสาวอัมพร บัวสัน

Outcome of sleep-wake pattern in obstructive sleep apnea patients after positive airway pressure therapy using actigraphy : พญ.นฤมล ลือกิตตินันท์

Outcome of positive airway pressure therapy combined with telemonitoring in patients with obstructive sleep apnea syndrome : พญ.กัลยา ปัญจพรผล



ปี 2563

การพัฒนารูปแบบการดูแลเพื่อป้องกันการกลับมารักษาซ้ำภายใน 72 ชั่วโมงสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือดสถาบันโรคทรวงอก : นางสาวปราณีย์ แสงทอง

การประเมินความเหมาะสมในการใช้ยา liraglutide ในสถาบันโรคทรวงอก : นางสาวมนิศรา พัฒนาพรหมชัย

ปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำในผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดในสถาบันโรคทรวงอก : นางเพ็ญรุ่ง เศรษฐบุตร

ตรวจคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคปอดโดยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ และการทำนายวัณโรคดื้อยาด้วยภาพเอกซเรย์ปอด : พญ.สุฑารัตน์ ตั้งสกุลวัฒนา

การใช้ระดับ SAMe-TT2R2 เพื่อทำนายของคุณภาพการให้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหัวใจเต้นระริกที่ได้รับยาWarfarin ในประเทศไทย : นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล

การศึกษาเปรียบเทียบการผ่าตัดกลีบปอดโดยใช้กล้องส่องชนิดแผลเดียว กับชนิดหลายแผล : พญ.อ้อมใจ รัตนานนท์



ปี 2562

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของระดับไอเอ็นอาร์ภายหลังการหยุดยาต้านการแข็งตัวของเลือด : นพ.สรชัย เทพธรนินทรา

ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดวัณโรคดื้อยาหลายขนานในสถาบันโรคทรวงอก : นางภัทรชยา สวัสดิ์วงษ์

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการนิเทศงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลตติยภูมิ ในจังหวัดนนทบุรี : นางภัทรชยา สวัสดิ์วงษ์ และ นางศุภาพิชญ์ โฟน โบแมนน์

ความรู้ ความพร้อม และพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยระยะท้ายของพยาบาลวิชาชีพ ในสถาบันโรคทรวงอก : นางพิมพ์สุดา เจี่ยปิยะสกุล

ผลของการพัฒนารูปแบบการให้ความรู้ผู้ป่วยหลังใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ สถาบันโรคทรวงอก : นางเบญญาภา พุทธอรุณ

การศึกษาอุบัติการณ์การบาดเจ็บของผู้ป่วยที่เกิดจากการตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบสารรังสี สถาบันโรคทรวงอก : นางสมบูรณ์ นิคมประศาสน์



ปี 2561

ปัจจัยที่มีผลต่อการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่สถาบันโรคทรวงอก : นางสาวกฤษณา ชีวะกุล

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำงานวิจัยของพยาบาลวิชาชีพ สถาบันโรคทรวงอก : นางภัทรชยา สวัสดิ์วงษ์

ผลโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยก่อนส่องกล้องตรวจหลอดลมต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยในสถาบันโรคทรวงอก : นางพจนา หลุยเจริญ นางรัศมี น้อมศาสน์ นายทวีศักดิ์ จิตรเย็น

นวัตกรรม เรื่อง Safety Bag : นางสาวปาริชาต มะลิซ้อน

พลศาสตร์การไหลเวียนเลือดเมื่อให้ความอบอุ่นร่างกายด้วยผ้าห่มมาตรฐานและผ้าห่มประดิษฐ์ : นางสุปัญญา โพธิปัทมะ

การศึกษาคุณภาพชีวิตและผลการทดสอบเดินหกนาทีในผู้ป่วยสูงอายุภายหลังการใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจชนิดถาวรเปรียบเทียบระหว่างเครื่องชนิดกระตุ้นหัวใจห้องเดี่ยวที่ปรับอัตราการเต้นหัวใจได้ตามกิจกรรมและเครื่องชนิดกระตุ้นหัวใจสองห้องบนล่างต่อเนื่อง : นพ.จรินทร์ อัศวหาญฤทธิ์



ปี 2560

การศึกษาเพื่อหาวิธีวัดระยะ corrected QT ที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว : นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล และ พญ. รติกร เมธาวีกุล

การศึกษาภาระงานในโรงพยาบาลเฉพาะทางระดับตติยภูมิ กรณีศึกษา : บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ

ความคาดหวังและการรับรู้ของบุคลากรต่อคุณภาพการบริการงานจ่ายกลาง สถาบันโรคทรวงอก : สิทธิวัฒน์ กล้ามสันเทียะ สมศักดิ์ กันณะ และสุดคะนึง ปลั่งพงษ์พันธ์

ปัจจัยที่มีผลต่อการมารับยาวัณโรคต่อเนื่องของผู้ป่วยวัณโรค ปอดรายใหม่ : นางสาวยุพดี ชัยศิริประเสริฐ และคณะ

ผลของการสอนใช้ยาสูดพ่นโดยเภสัชกร ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังใน COPD clinic ของสถาบันโรคทรวงอก : พิณนภา ลายสาน, นวพร เชวงชินวงศ์, สุวรี ฮั่นภักดีกุล และสิริจิต รัตนวัย



ปี 2559

การศึกษาเพื่อหาวิธีวัดระยะ corrected QT ที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มี atrial fibrillation สถาบันโรคทรวงอก : นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล และ พญ. รติกร เมธาวีกุล



ปี 2558

การสำรวจการปฏิบัติการพยาบาลตามจรรยาบรรณวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในกลุ่มภารกิจบริการวิชาการ สถาบันโรคทรวงอก : นวรัตน์ สุทธิพงศ์ และคณะ

ปัจจัยที่ทำนายการพบหลอดเลือดหัวใจตีบอย่างมีนัยสำคัญในผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวน้อยกว่าปกติ : พญ. รติกร เมธาวีกุล และ นพ.คมสิงห์ เมธาวีกุล



ปี 2557

ความสัมพันธ์รระหว่างแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ : กาญจนา พูลพิพัฒน์ และคณะ

ปริมาณรอยเท้าคาร์บอนของผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก : นวรัตน์ พระเทพ

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด Ventricular Fibrillation ในผู้ป่วยขณะผ่าตัดลิ้นหัวใจ : ภัทรชยา สวัสดิ์วงษ์, สุวรรณี วงษ์ดิษฐ์, สุทธิศักดิ์ มาสมพร และอติภา มีแสง

ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะบวก : กฤษณา ชีวะกุล และคณะ



ปี 2556

คู่มือจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เพื่อใช้ในการเขียนโครงร่างการวิจับเพื่อเสนอของบประมาณประจำปีงบประมาณ 2558

การปรับตัวของผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลันหลังทำ Primary PCI สถาบันโรคทรวงอก : อัญชัญ สมอยู่ และคณะ

ความต้องการข้อมูลในการรับส่งเวรระหว่างพยาบาลในการเปลี่ยนเวรและระหว่างหน่วยงาน ด้วยเทคนิคการสื่อสาร SBAR : ปราณีย์ แสงทอง และคณะ

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยที่ รับประทานยาวอร์ฟาริน สถาบันโรคทรวงอก - นวรัตน์ สุทธิพงศ์ และคณะ

พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในหอผู้ป่วยอายุรกรรมปอด : นางสาวดวงใจ ดุดัน และคณะ

ผลของการให้ความรู้ต่อระดับความรู้ และการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ :นิตยา โพธิ์สาราช, สุชีรา อึ้งตระกูล, วรุณ เพ็ชรัตน์ และจุฑารัตน์ นาประกอบ

ลักษณะของผู้สูงอายุ 70 ปีไม่มีคิว แผนกผู้ป่วยนอก : นงนุช หอมขจร



ปี 2555

การศึกษาเปรียบเทียบผลการรักษาของผู้ป่วยคลินิกวาร์ฟารินศัลยกรรมระหว่างอยู่ในคลินิกและหลังออกจากคลินิก : ภญ.นวลจันทร์ พันธุเมธามาตย์

ผลของการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยหลังผ่าตัดลิ้นหัวใจระยะวิกฤตต่อความวิตกกังวล ในหอผู้ป่วยหนัก ไอซียู สถาบันโรคทรวงอก : น้ำฝน ขัดจวง และคณะ

ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง พฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับความดันโลหิตของผู้สุงอายโรคหลอดเลือดหัวใจ : นวรัตน์ พระเทพ

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยหลังผ่าตัดลิ้นหัวใจที่กลับมานอนรักษาใน สถาบันโรคทรวงอก : ทองดี จิตใส และคณะ

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคหัวใจ ACS ที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอกโรคหัวใจ สถาบันโรคทรวงอก : จีรวรรษา เกตุค้างพลู และคณะ



ปี 2554

ผลของการส่งเสริมการดูแลตนเองต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง : สมศักดิ์ กันณะ, รุ่งเรือง ลามอ, เยาวรัตน์ รุ่งสว่าง, ณัฏฉวี อ๊อกซู

การพัฒนาพฤติกรรมด้านจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล : กนกพร แจ่มสมบูรณ์ และคณะ

การพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยในคลินิกวาร์ฟาริน : นวรัตน์ สุทธิพงศ์ และคณะ

ผลของการใช้หมอนนุ่มคุ้มครองหัวใจต่อการลดอาการปวดแผลหลังผ่าตัดหัวใจ : พรรณี แก้วด้วง

ปัจจัยที่มีผลต่อบรรยากาศการทำงานและความสุขในชีวิตของบุคคลากรของสถาบันโรคทรวงอก : บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ และคณะ

ประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาวาร์ฟารินในคลินิกเฉพาะทางอายุรกรรมโรคหัวใจ : พัชรี ร่มตาล และคณะ

ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการเฝ้าระวังกาาติดเชื้อในสถาบันโรคทรวงอก : ชุติมา อุไรกุล และคณะ

ผลของการพัฒนาการพยาบาลผู้ป่วยหลังฉีดสีหลอดเลือดหัวใจในหอผู้ป่วยอายุรกรรมหัวใจ : เสาวลักษณ์ สุขุมตันติ และคณะ



ปี 2553

ความสามารถในการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร : นวรัตน์ สุทธิพงศ์ และคณะ

ความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือกหัวใจที่มีความดันโลหิตสูง : วัลนา ทองเคียน และคณะ



ปี 2552

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคปอดภายหลังที่มารับการรักษาวัณโรค : ธิดา ศุภโรจน์ และคณะ

ปัจจัยพื้นฐาน ความสามารถในการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดของสถาบันโรคทรวงอก : บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ และคณะ

สาเหตุที่ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันมารับการรักษาที่สถาบันโรคทรวงอกช้า : พัชณี ร่มตาล และคณะ

การเปรียบเทียบผลของการสอนแบบสนทนากลุ่มและการใช้ภาพยนตร์ต่อความรู้ความเข้าใจ และความวิตกกังวลในผู้ป่วยที่มารับบริการทำหัตถการสวนหัวใจ : กฤษดา จวนวันเพ็ญ, สุวรรณี สุขสวัสดิ์, นวรัตน์ สุทธิพงศ์, อ้อมใจ อั๋นวงศ์



ปี 2551

การศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคโดยใช้แบบแผนการดูแล : โฉมนภา กิตติศัพท์, เสาวลักษณ์ สุขุตมตันติ, รังสิยา ไผ่เจริญ

การสนับสนุนทางสังคมและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้ขยายหลอดเลือดหัวใจ : จงกณ พงศ์พัฒนจิต, นวรัตน์ สุทธิพงศ์

การศักษาภาวะแทรกซ้อนภายหลังการฉีดสารทึบรังสีในการทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ : สมบูรณ์ นิคมประศาสน์, พงษ์ลัดดา สุพรรณชาติ, สุฑารัตน์ ตั้งสกุลวัฒนา, ชมพูนุท วิจิตรสงวน



ปี 2550

การศึกษาสถานการณ์และปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดปอดอักเสบกับการใช้เครื่องช่วยหายใจในหออภิบาลผู้ป่วย : ชุติมา อุไรกุล, ชุณหกาญจน์ แก่นบัวแก้ว, รังสิยา ไผ่เจริญ, บุษบา อินกว่าง, สมพร เชี่ยวบางยาง

ประสิทธิผลของการรักษาวัณโรคด้วยระบบยาระยะสั้นภายในการควบคุม : กนกพร แจ่มสมบูรณ์, ธิดา ศุภโรจน์

ศึกษาความรู้ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้องรัง (COPD) จากการสอนแบบมีส่วนร่วม : กัลยา รุจิรรุจนะ, รุ่งเรือง ลามอ, สมศักดิ์, เยาวรัตน์ รุ่งสว่าง

ความเครียดและความวิตกกังวลของสมาชิกครอบครัวผู้ป่วยที่รับรักษาในหอผู้ป่วยหนักอายุรศาสตร์หัวใจ : อรสา ไพรรุณ, ปรวรรณ ฤาชา, มาสริน ศุกลปักษ์



ปี 2549

ปัจจัยเกี่ยวกับการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในหอผู้ป่วยที่ใส่คาสายสวนปัสสาวะ : ชุติมา อุไรกุล, ชุณหกาญจน์ แก่น, ฐาปณิช บุญสำราญ, ขนิษนันท์ กูรสรุพงษ์



ปี 2548

ความรู้ การรับรู้ความสามารถของตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการดูแลตนเองในการควบคุมอาหารของผู้ป่วยหลังผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจ : ยุพดี ชัยศิริประเสริฐ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการไม่ใช้สิทธิ ตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของผู้ป่วยสถาบันโรคทรวงอก : ธิดา ศุภโรจน์, ปวีนุช จีนกูล, วัลนา ทองเคียน, อารียา ปุษยะนาวิน



ติดต่อ :

74 ถ.ติวานนท์ ต.บางกระสอ อ.เมือง นนทบุรี 11000

CHANG123. All Rights Reserved.

โทร. 02-547-0999

แฟกซ์. 2-547-0935

สายด่วนโรคหัวใจ 1668

การตรวจรักษา/อาการ

คลินิกโรคหัวใจ ติดต่อ 02-547-0859
คลินิกโรคปอด ติดต่อ 02-547-0860
คลินิกบุหรี่ ติดต่อ 02-547-0927
คลินิกศัลยกรรม ติดต่อ 02-547-0883
คลินิก TB Clinic ติดต่อ 02-547-0415